วันอาทิตย์ที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2559


วัดพระพุธทบาทบัวบาน


วัดพระพุธทบาทบัวบาน บ้านนไผ่ล้อม ต.เมืองพาน อ.บานผือ จ.อุดรธานี

สิ่งสำคัญที่ขึ้นทะเบียน             ๑.รอยพระพุทธบาท 

ประวัติพแสังเขป            ตามประวัติกล่าวว่าวัดพระพุทธบาทบัวบาน สร็าเมื่อ พ.ศ.๒๔๕๔

ลัษณะรูปแบบศิลปกรรม            รอยพระพุทธบาทบัวบานแต่เดิมมีลัษณะเป็นแอ่งเว้าบนพื้นหินธรรมชาติมีรูปร่างคล้ายฝ่าเท้า ต่อทมาจึงได้มีการวร้างรอยพระพุทธบาทจำลองเลียนแบบของเดิมวางทัยลงไป แล้วจึงสร้างพระธาตุครอบไว้อีกชั้นหนึ่ง พระพุทธบาทจำลองนี้ด้วยปูน ผิวเรียบทาสีทอง ขอบพระบาทเป็นเส้นตรง มีความยาว 140 เซนติเมตร ปลายพระบาท กว้าง 65 เซนติเมตร สันพระบาทกว้าง 53 เซนติเมตร ฝ่าพระบาทเรียบไม่มีลวดลาย องค์พระธาตุที่สร้างครอบทับรอยพระพุทธบาทมีลักษณ์ศิลปกรรมแบบล้านช้าง รูปทรงเหลี่ยมย่อเกิจ มีประตูทางเข้า ด้านทิศตะวันออกด้านเดียว พระธาตุมีขนาดกว้างด้านล่ะ 2เมตร นอกจากนี้บริเวณเพิงผาใกล้ๆ ประดิษฐานพระพุทธรูปไม้ศิลปกรรมแบบล้านช้าง และพระพุทธรูปหินทรายจำหลักเป็นพระสี่ทิศ

อายุสมัย    ราวพุทธศรรตวรรษที่ ๒๒-๒๔ สมัยวัฒนธรรมล้านช้าง

ประเภทโบราณสถาน            ศาสนสถานในพุทธศาสน

ลักษณะการใช้งานปัจจุบัน            เป็นสถานที่เคารพสักการะของท้องถิ่นและบุคคลทั่วไปการขึ้นทะเบียน               ๑.กำหนดจำนวนโบราณสถานสำหรับชาติ ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๕๒ วันที่ ๘ มีนาคม ๒๔๗๘ ระบุชื่อ"วัดพระพุทธบาทบัวบาน อำเภอบ้านผือ ตำบลเมืองพาน"

ที่มาของข้อมูล      ๑.ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๕๒ วันที่ ๘ มีนาคม ๒๔๗๘                                                        ๒.สำนักงานโบราณคดีและพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติที่ ๗ ขอนแก่น  ทำเนียบโบราณสถานอีสานบน เอกสารอัดสำเนา ๒๕๔๒            

         ๓.หน่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมศิลปกรรมท้องถิ่นจังหวัดอุดรธานี มรดกสิ่ง                                  แวดล้อมและศิลปกรรมท้องถิ่นจังหวัดอุดรธานี ๒๕๔๓


รอยพระบาท


          นอกจากรอยพระพุทธบาทจำลองแล้วพระ พุทธบาทบัวบานยังมีการขุดค้นพบใบเสมาทีี่ทำด้วยหินเปน จำนวนมาก บนใบเสมาถูกสลักเป็นรูปเทวดา และนางอัปสร เป็นศิงปะวาราวดีตอนปลายผสมกับศิลปะลพบุรีใบเสมาองค์ที่สมบูรณ์การสร้างหลังคามุงเอาไว้ และมีในส่วนที่ปรักหักพังกร่อนไปตามกาลเวลา

 

กลุ่มใบเสมา วัดพระพุธทบาทบัวบาน




สระน้ำวัดพระพุทธบาทบัวบาน


จากการศึกษาใบเสมา ี่พระพุทธบาทบัวบานและการจำหลักภาพขนาดของเสมา จำนวนเสมา น่าจะเป็นชุมชนขนาดใหญ่ มีความเป็นอยู่ที่อุดมสมบูรณ์จึงสามารถสร้างศิลปะกรรม ประติมากรรมหินทรายขนาดใหญ่และงดงามได้สภาพของชุมชนคงจะได้ร้างไปนานแล้ว




อ้างอิง


http://www.remawadee.com/udonthani/PhraBat-BuaBan.html
                      http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=prommayanee&month=19-07-2011&group=5&gblog=107

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น